ระบบและการติดตั้ง

วิธีตั้งค่าและการติดตั้งระบบสำหรับ Wordpress

จะเห็นว่าทั้ง 4 ลิ้งค์ มีลักษณะที่แตกต่างกัน ลิ้งค์ที่ตั้งค่าใส่ชื่อลิ้งค์ให้มีภาษาไทย จะส่งผลต่อ SEO ทำให้คนค้นหาเว็บคุณได้ง่าย
การแสดงผลในหน้าแรกสำคัญคือ "บทความ" และต้องมีความสัมพันธ์กับ Widget ที่อยู่ด้านข้าง ถ้า Widget ยาวมากกว่าจำนวนบทความที่แสดงในหน้าแรก
หลังจากที่เช่าโฮสมาแล้วเราจะได้เราจะได้พื้นที่และระบบสำหรับทำการติดตั้ง Wordpress ซึ่งระบบที่ผมจะอธิบายคือ Directadmin ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการหลักในการทำเว็บ ซึ่งทำให้ติดตั้ง wordpress
RSS Feed คือวิธีการรับข่าวจากเว็บโดยอัติโนมัติ ผู้ที่รับข่าวผ่าน RSS ของเว็บไม่จำเป็นต้องเข้าเว็บก็อ่านข่าวได้ ...ข้อดีก็คือ
หลังจากที่ซื้อโดเมนและเช่าโฮสมาเรียบร้อย ขั้นตอนต่อไปคือการเพิ่มโดเมน ถ้าเช่าโฮสและซื้อโดเมน
Sub-domain คือโดเมนย่อย เป็นการสร้างเว็บที่แตกออกมาอีกสาขา เช่นเว็บ Facebook.maahalai.com เป็นเว็บย่อยของเว็บนี้ ซึ่งถ้าคุณสร้าง คุณจะต้องติดตั้ง Wordpress ใหม่
เข้าสู่ ตอนที่สองเป็นการเริ่มต้นสำหรับการติดตั้งสำหรับมือใหม่ โดยเฉพาะคนที่เพิ่งได้โดเมนเนม (Domain) มาใหม่ๆ แน่นอนว่าอาจจะยังงงๆ ไม่รู้ว่าจะไปเริ่มต้นที่จุดไหน จะสร้างฐานข้อมูลอย่างไร และทำอย่างไรถึงจะติดตั้ง wordpress ได้มาดูกันเลยดีกว่าเลือก Upload file to current directory เพื่อดาวโหลดไฟล์ wordpress ที่เราดาวโหลดมาหลังจากอัพโหลด wordpress ขึ้นโฮสแล้ว ให้เราลบไฟล์ index.html ออกเมื่อแตกไฟล์ออกมาแล้วก็เป็นอันเสร็จสิ้นขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการติดตั้ง wordpress เข้าสู่หน้าเว็บ
ตอนที่ผมใช้ Wordpress ใหม่ๆ เนี่ย งงมากๆเมื่อเข้า Appearance >> Editor แล้วไม่สามารถแก้ไขธีมได้  พอใช้ไปนานๆ ถึงมารู้ทีหลังว่า ต้องตั้งค่า Permission ของไฟล์ธีม ให้เป็น 777 เสียก่อน วิธีการก็เข้าไปที่ File manager >> เว็บ >> content >> theme >> ธีมที่จะแก้ไข  แล้วเปลี่ยนค่าในไฟล์ทั้งหมด ให้เป็น 777 ครับ  เสร็จแล้วกลับไปที่ระบบ Wordpress เข้า Appearance >> Editor จะเห็นว่าสิ่งที่เปลี่ยนแปลงก็คือปุ่ม update ด้านล่างของหน้า Edit Theme …แสดงว่าแก้ไขธีมในระบบ Wordpress ได้แล้วครับ
เวลาที่จะติดตั้งปลั๊กอิน ธีม หรือจะอัพเดทระบบ ถ้าต้องการความสะดวก จำเป็นต้องสร้างการเชื่อมต่อผ่าน FTP
การอัพเดทปลั๊กอิน ระบบ และธีม สามารถใช้วิธีการเดียวกัน ในบทนี้ผมจะบอกวิธีอัพเดทผ่าน FTP ซึ่งเป็นวิธีที่ง่ายที่สุด
เมื่อ Plugin มีการอัพเดทเวอร์ชั่นใหม่ ระบบจะแจ้งเราผ่านเมนู Dashboard >> Updates เลือก Plugin ที่ต้องการอัพเดท แล้วกด Upadte Plugins
สำหรับคนที่ใช้ Wordpress หรือระบบอะไรก็ตามแต่ในการทำเว็บด้วย CMS สิ่งที่จะต้องรู้จักอย่างหนึ่งคือ การเปลี่ยนค่า Permission เพื่อที่จะให้ผู้ใช้สามารถเข้าไปแก้ไขไฟล์ได้ จากระบบ Wordpress และ Plugin หรือการตั้งค่าบางอย่าง ของ Wordpress จะต้องอาศัยการแก้ไข Permission จึงจะตั้งค่าได้สำเร็จ วิธีการให้เข้าระบบ File Manager ของโฮส ให้ทำการเลือกไฟล์ที่ต้องการเปลี่ยนค่า  จากนั้น ในช่อง Permission ให้เปลี่ยนเป็น 777 แล้วคลิ๊ก set Permission ระบบก็จะเปลี่ยนค่าไฟล์เป็น 777 เพื่อที่จะแก้ไขและตั้งค่าได้ง่ายๆ ***หมายเหตุ เราไม่ควรจะเปลี่ยนค่า Permission มั่วซั่วนะ เปลี่ยนเฉพาะที่จำเป็น เพื่อความปลอดภัยของบล็อกคุณเอง