Wordpress

รวมเทคนิควิธีการใช้ Wordpress เพื่อการสร้างเว็บไซท์ที่มีคุณภาพ

เจอบทความน่าสนใจจาก 108blog.net กล่าวถึง plugin wordpress ที่ทำให้บล็อกของเราแรงขึ้น แต่ผมใช้แค่สองตัวคือ wp-optimize และ wp-db -backup สำหรับมือใหม่อาจยังไม่เข้าใจนักเกี่ยวกับปลั๊กอินเหล่านี้ แต่ใช้ wordpress นานๆไปจะรู้ว่ามันสำคัญยิ่ง1.WP-Optimize สำหรับตัวนี้จะเป็นปลั๊กอินใช้จัดการทำความสะอาดเพื่อประสิทธิภาพให้ฐาน ข้อมูล โดยที่คุณไม่ต้องเข้าไปจัดการใน PhpMyAdmin ให้ยุ่งยากและเสียเวลาจัดการในเวิร์ดเพรสได้ทันที ปลั๊กอินตัวนี้จะจัดการในส่วน post revisions,comment spam,optimize database,un-approved comments การ
Akismet ป้องกัน Spam โดย wordpress.com SI CAPTCHA Anti-Spam ตัวยอดนิยมเลยหละ Lightbox 2 ดูภาพขนาดใหญ่ด้วย Ajax NextGEN Gallery แกลลอรี่ใน WordPress wordtube /?wordTube FlowPlayer ตัวเล่น Flash Video Podcasting Plugin by TSG เอาไว้ทำ Podcast TweetMeme Button ปุ่มแบ่ง ปันไปยัง twitter Facebook Share (New) Button ปุ่มแชร์ Facebook ใน วพFollowMe พื้นที่เล็กๆสำหรับให้คนอื่นไป follow เราใน twitterWP to Twitter อัพเนื้อหาขึ้นทวิตเตอร์DISQUS Comment คอมเมนต์ที่เจ๋งที่สุดในตอนนี้ login ด้วย twitter และ Facebook ได้WP Ajax Edit
TweetMeme Retweet Button เป็น wordpress plugin สำหรับใช้แสดงจำนวนการทวีทหรือ retween ผ่านทวีทเตอร์ของบทความนั้นๆ เป็นการแสดงถึงความ Hot หรือกระแสของบทความเราว่ามีคนนิยมนำไปบอกต่อมากน้อยแค่ไหนการตั้งค่า อันที่จริงมีมากมายและซับซ้อนกว่านี้แต่ผมทำไม่เป็น แต่หลักๆง่ายๆเลยก็สามารถตั้งได้ว่าจะให้แสดงที่ไหนได้บ้าง เช่นแสดงที่ Pages หรือแสดงที่ Feed และยังเลือกได้อีกว่าจะแสดงตำแหน่งไหนของบทความ
Cosmic buddy theme ธีมนี้เป็นธีมแนว Magazine โครงสร้างของธีมนั้นปรับแต่งได้ง่ายมากๆ เพราะใช้ widget ล้วนๆ ในการปรับแต่งหน้าธีมให้ดูเป็น Wordpress Magazine Theme แต่มีข้อได้เสียก็คือต้องลง **Buddypress ด้วยธีมถึงจะทำงานในส่วนของ blog จะเป็นการแสดงบทความ ซึ่งต่างจากธีมทั่วไปที่บทความจะแสดงอยู่หน้าแรก สำหรับ cosmiv buddy จะมีปัญหาก็คือ มันไม่แสดงหน้า "Blog" ซึ่งก็มีวิธีแก้ไขจะกล่าวต่อไปโลโก้ที่ใช้จะมีสามรูปแบบ โดยการเปลี่ยนต้องอัพโหลดไฟล์รูป .gif ผ่าน Media แล้วค่อยนำ URL มาวางใส่
การเขียนบทความขึ้นเว็บหรือบล็อกสำหรับ Wordpress นั้นง่ายมากๆ  เริ่มต้นให้เลือก Post >> Add New เข้าสู่หน้าการเขียนบทความ ให้ใส่หัวเรื่อง และเนื้อหา เขียนเสร็จแล้วให้เลือก Publish เพื่อเผยแพร่บทความขึ้นสู่หน้าเว็บ
นี่คือขั้นสุดท้ายหลังจากที่อัพโหลดไฟล์ขึ้นโฮสเรียบร้อยแล้ว เริ่มต้นให้เราเข้าหน้าเว็บของเราเช่น Maahalai.com ก็จะพบหน้าการติดตั้ง wordpress (ตามภาพด้านบน) แล้วเลือก Create a Configuration File กรอกข้อมูลของฐานข้อมูลที่เราได้ติดตั้งไว้แล้วตามช่องว่าง (หากจำไม่ได้ให้กลับไปดู การติดตั้ง wordpress ตอนที่ 2) Database Name : ชื่อฐานข้อมูล User Name : ชื่อผู้ใช้ฐานข้อมูล Passward : รหัสผ่านของฐานข้อมูล Database Host : ปล่อยว่างไว้เลยไม่ต้องเปลี่ยนแปลง Table prefix : อันนี้ก็ว่างไว้ ไม่ต้องเปลี่ยนแปลง
เข้าสู่ ตอนที่สองเป็นการเริ่มต้นสำหรับการติดตั้งสำหรับมือใหม่ โดยเฉพาะคนที่เพิ่งได้โดเมนเนม (Domain) มาใหม่ๆ แน่นอนว่าอาจจะยังงงๆ ไม่รู้ว่าจะไปเริ่มต้นที่จุดไหน จะสร้างฐานข้อมูลอย่างไร และทำอย่างไรถึงจะติดตั้ง wordpress ได้มาดูกันเลยดีกว่าเลือก Upload file to current directory เพื่อดาวโหลดไฟล์ wordpress ที่เราดาวโหลดมาหลังจากอัพโหลด wordpress ขึ้นโฮสแล้ว ให้เราลบไฟล์ index.html ออกเมื่อแตกไฟล์ออกมาแล้วก็เป็นอันเสร็จสิ้นขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการติดตั้ง wordpress เข้าสู่หน้าเว็บ
หลังจากที่เช่าโฮสมาแล้วเราจะได้เราจะได้พื้นที่และระบบสำหรับทำการติดตั้ง Wordpress ซึ่งระบบที่ผมจะอธิบายคือ Directadmin ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการหลักในการทำเว็บ ซึ่งทำให้ติดตั้ง wordpress