ระบบและการติดตั้ง

วิธีตั้งค่าและการติดตั้งระบบสำหรับ Wordpress

หลังจากที่สร้างฐานข้อมูลแล้ว ต่อไปคือการติดตั้ง WordPress เพื่อที่จะทำให้พื้นที่โล่งๆ เป็นเว็บขึ้นมา ขั้นตอนนี้จะยากหน่อยสำหรับผู้เริ่มต้น
Wordpress 3.3 ถูกปล่อยออกมาให้อัพเกรดเมื่อวานนี้เอง ส่วนตัวค่อนข้างพอใจกับการอัพเดทครั้งล่าสุด เพราะบางอย่างมันถูกทำให้ดูง่ายขึ้น
สำหรับการทำเว็บ Plugin คือสิ่งที่ขาดไม่ได้เลย หน้าที่ของมันคือตัวช่วยที่จะทำให้เว็บมีความสามารถมากขึ้น
Google Adsense เป็นโฆษณาสำหรับเว็บยอดนิยม เหมาะสำหรับคนทำเว็บมือใหม่ หรือจะทำเว็บมานานแล้ว Adsense ก็ยังเป็นทางเลือกที่น่าสนใจ ด้วยระบบการสร้างรายได้
เข้าสู่ ตอนที่สองเป็นการเริ่มต้นสำหรับการติดตั้งสำหรับมือใหม่ โดยเฉพาะคนที่เพิ่งได้โดเมนเนม (Domain) มาใหม่ๆ แน่นอนว่าอาจจะยังงงๆ ไม่รู้ว่าจะไปเริ่มต้นที่จุดไหน จะสร้างฐานข้อมูลอย่างไร และทำอย่างไรถึงจะติดตั้ง wordpress ได้มาดูกันเลยดีกว่าเลือก Upload file to current directory เพื่อดาวโหลดไฟล์ wordpress ที่เราดาวโหลดมาหลังจากอัพโหลด wordpress ขึ้นโฮสแล้ว ให้เราลบไฟล์ index.html ออกเมื่อแตกไฟล์ออกมาแล้วก็เป็นอันเสร็จสิ้นขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการติดตั้ง wordpress เข้าสู่หน้าเว็บ
สำหรับคนที่ใช้ Wordpress หรือระบบอะไรก็ตามแต่ในการทำเว็บด้วย CMS สิ่งที่จะต้องรู้จักอย่างหนึ่งคือ การเปลี่ยนค่า Permission เพื่อที่จะให้ผู้ใช้สามารถเข้าไปแก้ไขไฟล์ได้ จากระบบ Wordpress และ Plugin หรือการตั้งค่าบางอย่าง ของ Wordpress จะต้องอาศัยการแก้ไข Permission จึงจะตั้งค่าได้สำเร็จ วิธีการให้เข้าระบบ File Manager ของโฮส ให้ทำการเลือกไฟล์ที่ต้องการเปลี่ยนค่า  จากนั้น ในช่อง Permission ให้เปลี่ยนเป็น 777 แล้วคลิ๊ก set Permission ระบบก็จะเปลี่ยนค่าไฟล์เป็น 777 เพื่อที่จะแก้ไขและตั้งค่าได้ง่ายๆ ***หมายเหตุ เราไม่ควรจะเปลี่ยนค่า Permission มั่วซั่วนะ เปลี่ยนเฉพาะที่จำเป็น เพื่อความปลอดภัยของบล็อกคุณเอง
หลังจากที่ซื้อโดเมนและเช่าโฮสมาเรียบร้อย ขั้นตอนต่อไปคือการเพิ่มโดเมน ถ้าเช่าโฮสและซื้อโดเมน
การแสดงผลในหน้าแรกสำคัญคือ "บทความ" และต้องมีความสัมพันธ์กับ Widget ที่อยู่ด้านข้าง ถ้า Widget ยาวมากกว่าจำนวนบทความที่แสดงในหน้าแรก
มาถึงตอนนี้จะเป็นการ "เช่าโฮสติ้ง" แล้วก็ซื้อโดเมนเนมด้วย แต่ในตอนนี้จะขอกล่าวถึงการเช่าโฮสเป็นหลัก ส่วนโดเมนผมแนะนำให้ใช้เจ้าเดียวกันกับโฮสที่เช่า
การสร้างฐานข้อมูลเป็นหนึ่งในขั้นตอนของการสร้างเว็บใหม่ ทุกๆครั้งที่มีการสร้างเว็บจำเป็นต้องสร้างฐานข้อมูล
ถ้าจะเปลี่ยนบล็อก Wordpress ใหม่ โดยยังคงเนื้อหาเดิมก็ทำได้ ด้วยการส่งออกเนื้อหาจากบล็อกไปยังอีกบล็อกหนึ่ง  เริ่มต้นให้เข้าไปที่ Tool >> Export จะย้ายเนื้อหาจาก Post หรือ Page โดยสามารถเลือกตามหมวดหมู่ ผู้แต่ง หรือแม้กระทั่งวันที่  ถ้าจะย้ายไปทุกอย่างทั้ง posts, pages, comments, custom fields, terms, navigation menus and custom posts. ก็ให้เลือก All content จากนั้นคลิ๊ก Download Export File หลังจากที่ดาวโหลดไฟล์มาได้แล้ว ให้เข้าบล็อกใหม่ที่ย้ายไฟล์เข้ามา เข้าไปที่ Tool >> Import >> Wordpress แล้วติดตั้งปลั๊กอิน Import Wordpress เมื่อติดตั้งปลั๊กอินเสร็จ ก็ให้เลือกไฟล์ที่ดาวโหลดมาจากบล็อกเก่า  แล้วคลิ๊ก Upload file and import...
ระบบสมาชิกถือว่าเป็นหัวใจสำคัญอย่างหนึ่งของการทำเว็บหรือการทำบล็อกด้วย Wordpress เพราะมันจะทำให้เว็บเราดูมีชีวิตชีวามากขึ้น โดยเมื่อมีคนสมัครสมาชิกเข้ามาแล้วจะอยู่ในฐานะ Subscriber คือสามารถอ่านและแสดงความคิดเห็นบนบล็อกได้ หากต้องการให้สมาชิกร่วมเขียนบล็อกด้วยได้ก็กำหนดสิทธิ์เป็น Author