ระบบและการติดตั้ง

วิธีตั้งค่าและการติดตั้งระบบสำหรับ Wordpress

Google Adsense เป็นโฆษณาสำหรับเว็บยอดนิยม เหมาะสำหรับคนทำเว็บมือใหม่ หรือจะทำเว็บมานานแล้ว Adsense ก็ยังเป็นทางเลือกที่น่าสนใจ ด้วยระบบการสร้างรายได้
Wordpress 3.3 ถูกปล่อยออกมาให้อัพเกรดเมื่อวานนี้เอง ส่วนตัวค่อนข้างพอใจกับการอัพเดทครั้งล่าสุด เพราะบางอย่างมันถูกทำให้ดูง่ายขึ้น
ถ้าจะเปลี่ยนบล็อก Wordpress ใหม่ โดยยังคงเนื้อหาเดิมก็ทำได้ ด้วยการส่งออกเนื้อหาจากบล็อกไปยังอีกบล็อกหนึ่ง  เริ่มต้นให้เข้าไปที่ Tool >> Export จะย้ายเนื้อหาจาก Post หรือ Page โดยสามารถเลือกตามหมวดหมู่ ผู้แต่ง หรือแม้กระทั่งวันที่  ถ้าจะย้ายไปทุกอย่างทั้ง posts, pages, comments, custom fields, terms, navigation menus and custom posts. ก็ให้เลือก All content จากนั้นคลิ๊ก Download Export File หลังจากที่ดาวโหลดไฟล์มาได้แล้ว ให้เข้าบล็อกใหม่ที่ย้ายไฟล์เข้ามา เข้าไปที่ Tool >> Import >> Wordpress แล้วติดตั้งปลั๊กอิน Import Wordpress เมื่อติดตั้งปลั๊กอินเสร็จ ก็ให้เลือกไฟล์ที่ดาวโหลดมาจากบล็อกเก่า  แล้วคลิ๊ก Upload file and import...
เข้าสู่ ตอนที่สองเป็นการเริ่มต้นสำหรับการติดตั้งสำหรับมือใหม่ โดยเฉพาะคนที่เพิ่งได้โดเมนเนม (Domain) มาใหม่ๆ แน่นอนว่าอาจจะยังงงๆ ไม่รู้ว่าจะไปเริ่มต้นที่จุดไหน จะสร้างฐานข้อมูลอย่างไร และทำอย่างไรถึงจะติดตั้ง wordpress ได้มาดูกันเลยดีกว่าเลือก Upload file to current directory เพื่อดาวโหลดไฟล์ wordpress ที่เราดาวโหลดมาหลังจากอัพโหลด wordpress ขึ้นโฮสแล้ว ให้เราลบไฟล์ index.html ออกเมื่อแตกไฟล์ออกมาแล้วก็เป็นอันเสร็จสิ้นขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนต่อไปจะเป็นการติดตั้ง wordpress เข้าสู่หน้าเว็บ
การสร้างฐานข้อมูลเป็นหนึ่งในขั้นตอนของการสร้างเว็บใหม่ ทุกๆครั้งที่มีการสร้างเว็บจำเป็นต้องสร้างฐานข้อมูล
ตอนที่ผมใช้ Wordpress ใหม่ๆ เนี่ย งงมากๆเมื่อเข้า Appearance >> Editor แล้วไม่สามารถแก้ไขธีมได้  พอใช้ไปนานๆ ถึงมารู้ทีหลังว่า ต้องตั้งค่า Permission ของไฟล์ธีม ให้เป็น 777 เสียก่อน วิธีการก็เข้าไปที่ File manager >> เว็บ >> content >> theme >> ธีมที่จะแก้ไข  แล้วเปลี่ยนค่าในไฟล์ทั้งหมด ให้เป็น 777 ครับ  เสร็จแล้วกลับไปที่ระบบ Wordpress เข้า Appearance >> Editor จะเห็นว่าสิ่งที่เปลี่ยนแปลงก็คือปุ่ม update ด้านล่างของหน้า Edit Theme …แสดงว่าแก้ไขธีมในระบบ Wordpress ได้แล้วครับ
หลังจากที่เช่าโฮสมาแล้วเราจะได้เราจะได้พื้นที่และระบบสำหรับทำการติดตั้ง Wordpress ซึ่งระบบที่ผมจะอธิบายคือ Directadmin ซึ่งเป็นระบบปฏิบัติการหลักในการทำเว็บ ซึ่งทำให้ติดตั้ง wordpress
ระบบสมาชิกถือว่าเป็นหัวใจสำคัญอย่างหนึ่งของการทำเว็บหรือการทำบล็อกด้วย Wordpress เพราะมันจะทำให้เว็บเราดูมีชีวิตชีวามากขึ้น โดยเมื่อมีคนสมัครสมาชิกเข้ามาแล้วจะอยู่ในฐานะ Subscriber คือสามารถอ่านและแสดงความคิดเห็นบนบล็อกได้ หากต้องการให้สมาชิกร่วมเขียนบล็อกด้วยได้ก็กำหนดสิทธิ์เป็น Author
หลังจากที่สร้างฐานข้อมูลแล้ว ต่อไปคือการติดตั้ง WordPress เพื่อที่จะทำให้พื้นที่โล่งๆ เป็นเว็บขึ้นมา ขั้นตอนนี้จะยากหน่อยสำหรับผู้เริ่มต้น
จะเห็นว่าทั้ง 4 ลิ้งค์ มีลักษณะที่แตกต่างกัน ลิ้งค์ที่ตั้งค่าใส่ชื่อลิ้งค์ให้มีภาษาไทย จะส่งผลต่อ SEO ทำให้คนค้นหาเว็บคุณได้ง่าย
หลังจากที่ซื้อโดเมนและเช่าโฮสมาเรียบร้อย ขั้นตอนต่อไปคือการเพิ่มโดเมน ถ้าเช่าโฮสและซื้อโดเมน
วิธีการสร้าง Subdomain ด้วยวิธีนี้เป็นการสร้างแบบใช้ชื่อโดเมนนำหน้า ซึ่งจะทำหน้าที่เป็นเว็บย่อย เช่น โดเมนหลัก www.maahalai.com เมื่อสร้าง Subdomain จะได้ดังนี้ เช่น >> Wordpress.maahalai.com, Drama.maahalai.com วิธีการเข้ามาที่หน้าโฮส แล้วเลือก Subdomian Management (ตามภาพ)เพิ่มชื่อโดนเมนที่ต้องการแล้วกด Createเมื่อเข้าไปดูที่ไฟล์ เราก็ได้ Subdomian ตัวใหม่ออกมาแล้ว